แนะกินอาหารปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ในภาวะอุทกภัย
ผู้เชี่ยวชาญ แนะนำผู้ประสบอุทกภัย ควรคำนึงถึงความปลอดภั
ดร.วนะพร ทองโฉม นักสุขศึกษา (นักกำหนดอาหารวิชาชีพ) งานสร้างเสริมสุขภาพ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิ
“ในภาวะน้ำท่วม ผู้ประสบภัยไม่
สำหรับอาหารที่ควรหลีกเลี่
1. อาหารที่ปรุงด้วยกะทิ เพราะอาหารไทยหลายเมนูมักใช้
2. อาหารประเภทลาบหรือยำ เนื่องจากวัตถุดิบผ่านการลวกหรื
3. อาหารที่ใส่ผักลวก ในเมนูน้ำพริกต่าง ๆ มีการใส่ผักลวกหรือผักต้มไปในกั
4. ข้าวผัด เนื่องจากข้าวผัดจะมีความชื้
ส่วนอาหารปรุงสดที่ควรเลือก คือ อาหารที่ไม่เสียง่ายหรือบูดยาก เก็บไว้ได้นาน และมีคุณค่าโภชนาการ โดยแนะนำให้แยกข้าวออกจากกับข้
1. ข้าวสวย หรือ ข้าวเหนียว + เนื้อสัตว์ (หมู/ไก่/เนื้อ/ปลา) ทอด ย่างหรืออบ หรือ ไข่เจียว/ไข่ต้ม + ผัดผัก
2. ข้าวสวย + กับข้าวประเภทผัดหรือต้มที่ใส่
3. ผลไม้ที่ยังไม่ได้ปลอกเปลือกหรื
สำหรับอาหารที่เก็บไว้ได้นาน และเหมาะสำหรับนำไปช่วยเหลือผู้
1. ปลากระป๋อง เช่น ปลาซาร์ดีน ปลาทูน่า ปลาแมคเคอเรล
2. อาหารปรุงสำเร็จบรรจุกระป๋อง
3. ไข่
4. ผักสดที่เก็บได้นาน เช่น กะหล่ำปลี ถั่วฝักยาว แตงกวา มะเขือ
5. นมพลาสเจอร์ไรซ์
6. ขนมปังกรอบหรือเครกเกอร์
ดร.วนะพร แนะนำว่า ลักษณะอาหารที่ไม่ควรกิน เสี่ยงเป็นอาหารที่เสีย สามารถสังเกตจาก 3 สัญญาณต่อไปนี้
1. กลิ่นของอาหารเปลี่ยน เช่น กลิ่นเปรี้ยว กลิ่นหืน กลิ่นบูด
2. เนื้อสัมผัสอาหารเปลี่ยนไป เช่น เป็นเมือก เป็นฟอง
3. รสชาติเปลี่ยน เช่น เปรี้ยว ขม
สำหรับข้อสังเกตอาหารปรุงสำเร็จ หรืออาหารบรรจุกระป๋อง ที่ไม่ควรรับประทาน ได้แก่
1. อาหารที่หมดอายุแล้ว
2. อาหารที่บรรจุภัณฑ์อยู่ในสภาพที่
3. อาหารที่ขึ้นรา เช่น มีใยสีขาว มีจุดสีดำบนอาหาร
ในขณะที่ น้ำดื่ม ควรเลือกจากผู้ผลิตที่ได้
ดร.วนะพร กล่าวย้ำว่า ไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์ใดก็ตาม สุขภาพยังเป็นสิ่งที่ทุ